บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก เมษายน, 2018

หลัก ภาษาไทย

รูปภาพ
     ภาษาไทยมีวิวัฒนาการมาตามลำดับอย่างต่อเนื่อง ในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย      รัชสมัยของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช พระองค์ทรงโปรดเกล้าให้พระโหราธิบดีแต่งแบบเรียนภาษาไทยขึ้นเป็นแบบเรียน ภาษาไทยเล่มแรกมีชื่อว่า   ” จินดามณี ” ซึ่งแปลว่า แก้วสารพัดนึก     ต่อมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว  พระยาศรีสุนทรโวหาร(น้อย  อาจารยางกูร) ได้แต่งแบบเรียนภาษาไทย คือ มูลบทบรรพกิจ  วาหนิติ์นิกร  อักษรประโยค  สังโยคพิธาน  ไวพจน์พิจารณ์  และพิศาลการันต์ และต่อมาในสมัยของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว  กระทรวงวัฒนธรรมได้จัดพิมพ์ตำราสยามไวยากรณ์เป็นแบบเรียน และเจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดีได้เรียบเรียงขึ้นใหม่อีกเล่มหนึ่งโดยย่อ จากตำราสยามไวยากรณ์  และใน พ.ศ.๒๔๖๑ พระยาอุปกิตศิลปสาร(นิ่ม กาญจนาชีวะ) ได้ใช้เค้าโครงของตำราสยามไวยากรณ์นำมาแต่งเป็นตำราหลักภาษาไทยขึ้นใหม่ ซึ่งถือว่าเป็นตำราหลักภาษาไทยที่สมบูรณ์ที่สุด ซึ่งประกอบไปด้วย อักขรวิธี  วจีวิภาค  วากยสัมพันธ์  และฉันทลักษณ์  ถือว่าตำราเล่มนี้เป็นแบบฉบับหลักภาษาไทยที่ได้รับการยอมรับมากที่สุดและ ใช้กันจนถึงปัจจุบัน ≡ ≡ ≡ ≡

อักขรวิธี

รูปภาพ
อักขรวิธี พยัญชนะ พยัญชนะไทยในป ั จจุบันมี ๔๔ ตัว แต ่ ใช ้ เพียง ๔๒ ตัว โดยมีพยัญชนะที่ไม ่ ได ้ ใช ้ ตั้งแต ่  ป ี พ.ศ.๒๔๔๕ อยู ่ ๒ ตัว ได ้ แก ่ ฃ ฅ (กรมวิชาการ , ๒๕๔๕ : ๖๙) พยัญชนะไทย มี๒๑ เสียง ๔๔ รูป ดังนี้ สระ ป ั จจุบันสระในภาษาไทย มีการแบ ่ งรูปและเสียงต ่ างกันเป ็ น ๒ ลักษณะ ๑. หนังสือหลักภาษาไทย ของพระยาอุปกิตศิลปสาร กล ่ าวถึงรูปสระและเสียงสระในภาษาไทย ว ่ ามี๒๑ รูป ได ้ แก ่ วิธีใช ้ รูปสระ สามารถใช ้ ได ้ ๒ วิธีคือ ใช ้ สระรูปเดียวและสระหลายรูปประสมกัน ส ่ วนเสียงตาม ตํารำอักขรวิธีดั้งเดิมของไทย กล ่ าวว ่ า ในภาษาไทยมีสระ ๒๑ รูป แทนเสียงได ้ ถึง ๓๒ เสียง ดังนี้ ๒. หนังสือบรรทัดฐานภาษาไทย เล ่ ม ๑ (กรมวิชาการ : ๒๕๔๕) กล ่ าวว ่ า สระในภาษาไทย มีรูปสระที่ใช ้ แทนเสียง จํานวน ๓๖ รูป ดังนี้ วรรณยุกต์ ภาษาไทยได ้ กําหนดวรรณยุกต ์ ไว ้ ใช ้ ในภาษาเขียน เพื่อเป ็ นเครื่องหมายแทนระดับเสียงสูง ต่ำในภาษา วรรณยุกต ์ ไทยมี๔ รูป ได ้ แก ่ ตารางการผันวรรณยุกต์ -----------------